Green Recovery and Beyond

หมุดหมายการพัฒนาในช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน I SDGs in the New Politics

ประเด็นเนื้อหาถอดความและเรียบเรียงจากเวทีเสวนา SDGs หมุดหมายการพัฒนาในช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน (SDGs in the New Politics) โดยสำนักข่าว Bangkok Tribune ร่วมกับ Decode.plus, SDG Move,

การเงินสีเขียวเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน

เป็นเรื่องที่ชัดเจนว่า รัฐบาลของหลายประเทศได้ถือโอกาสของการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมให้กลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติ ภายใต้มุมมองและมาตรการใหม่ที่จะทำให้ประเทศมีความมั่งคงอย่างยั่งยืน ดังเช่น นโยบายการฟื้นฟูสีเขียว (Green Recovery Policy Package) การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมให้มีสภาวะกลับมาใกล้เคียงดั่งเดิมก่อน Covid-19 จึงเป็นการเปิดโอกาสให้ภาครัฐของหลายประเทศดำริที่จะปฏิรูป (reform) นโยบายและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการสร้างสังคมให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ของการพัฒนาที่ยั่งยืนและลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่ว่าจะเป็นมาตรการทางการเงินการคลัง

กระแสโลกร้อนและพลังงานสะอาด: 2 เมกะเทรนด์ที่โลกเปลี่ยนและเปลี่ยนโลก

ภายหลังการประชุมเจรจาเรื่องโลกร้อน COP26 ณ เมืองกลาสโกว์ สหราชอาณาจักร ในเดือนพฤศจิกายนช่วงปลายปีที่ผ่านมา คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)) ได้ตอกย้ำถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงเกิน 1.5

ระบบ “สมาร์ท” และความมุ่งมั่นในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพอันล้ำค่าในยุคหลังปี 2563

นับตั้งแต่การระบาดของโควิด-19 นักวิทยาศาสตร์และนักนิเวศวิทยาต่างเห็นพ้องต้องกันว่า การหยุดการสูญเสียและความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศที่อุดมไปด้วยสายพันธุ์และความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนการฟื้นฟูสภาพเหล่านี้อาจช่วยรักษาชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ในอนาคตได้ การปกป้องและขยายพื้นที่อนุรักษ์คุ้มครองได้กลายเป็นเป้าหมายหลักของประชาคมโลก ดั่งที่มีการเสนอในร่างกรอบงานความหลากหลายทางชีวภาพหลังปี 2563 (Post-2020) ฉบับใหม่ (Global Biodiversity Framework) ว่า “พื้นที่ทางบกและทางทะเลทั่วโลกอย่างน้อยร้อยละ 30

การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการฟื้นฟูเศรษฐกิจและปกป้องสิ่งแวดล้อมหลังโควิด 19

วิกฤตโควิดทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกถดถอยอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวเนื่องจากการเดินทางที่หยุดชะงัก โดยในปี 2562 ประเทศไทยเคยมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูงถึงปีละ 3 ล้านล้านบาทหรือราว 18% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า วิกฤติเดียวกันก่อให้เกิดบทเรียนที่สำคัญในการปรับปรุงการท่องเที่ยวที่เคยสร้างผลกระทบอย่างหนักหน่วงต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity based

โอกาสประเทศไทยกับเศรษฐกิจปลอดคาร์บอน

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้ให้ความเห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติเมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา ซึ่งได้กำหนดแนวนโยบายภาคพลังงานของประเทศโดยมีเป้าหมายมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี 2065-2070 และจะเป็นโอกาสของประเทศไทยในการปรับกระบวนทัศน์ในการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปด้วยกันอย่างบูรณาการ โดยเฉพาะกรอบการพัฒนาเศษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) ที่เป็นวาระแห่งชาติ, ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียวของสหภาพยุโรป (EU) และเยอรมนี: โอกาสทางธุรกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แม้ต้องเร่งดำเนินนโยบายและแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากโรคโควิด 19 แต่ก็มีหลายประเทศมากขึ้นที่เริ่มให้ความสำคัญกับความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) หรือการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ในขณะนี้ ดร.คริสเตียน ฮุบเนอร์ ให้ความเห็น อาจจะยังมีเพียงไม่กี่ประเทศที่ออกกฎหมายและมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสนับสนุนการปล่อยคาร์บอนสุทธิให้เป็นศูนย์ แต่ก็ถือได้ว่าโลกกำลังตื่นตัวกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery)  อย่างไรก็ตาม แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลกนี้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือระดับ