Perspectives

“เสียงจากภาพ” (Photovoice) โดยสามัญชนคนธรรมดาริมแม่น้ำโขง

ชุมชนริมแม่น้ำโขงที่กำลังจะได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการเขื่อนขนาดใหญ่บนแม่น้ำโขง กำลังประยุกต์ใช้เครื่องมือวิจัย “เสียงจากภาพ” เพื่อถ่ายทอดมุมมอง ตัวตน อัตลักษณ์​ โลกทัศน์ อารมณ์ความรู้สึก จินตนาการ ความเป็นอยู่ ความต้องการ และความใฝ่ฝัน ผ่านภาพและเรื่องเล่าเกี่ยวกับภาพที่ผลิตสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการสื่อสารกับผู้มีอำนาจและมุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงในอนาคต “เสียงจากภาพ”

นโยบายสิ่งแวดล้อมในบริบทการเมืองใหม่ Environmental Policies in the New Politics

ประเด็นเนื้อหาถอดความและเรียบเรียงจากเวทีเสวนา Dialogue Forum 1 l Year 4: นโยบายสิ่งแวดล้อมในบริบทการเมืองใหม่ (Environmental Policies in the New Politics) โดยความร่วมมือของสำนักข่าว

POINT OF VIEW: รมต.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ในความฝัน

ท่ามกลางสถานการณ์การจัดตั้งรัฐบาลที่ยังไม่ลุล่วงและข่าวนักการเมืองแย่งชิงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงหลักๆ ก็มีข่าวรายชื่อของผู้ที่จะมาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยู่ด้วย ซึ่งถือว่าเป็นกระทรวงขนาดเล็ก เกรดซี โดยมีตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการฯ เพียงตำแหน่งเดียว แต่เป็นกระทรวงที่มีความหมายอย่างยิ่งต่ออนาคตของทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนไทยทั้งประเทศ  กระผมในฐานะผู้เกี่ยวข้องกับวงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าโดยตรง ทั้งในฐานะอาจารย์คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีหน้าที่ผลิตบุคคลากรด้านป่าไม้และสัตว์ป่าหลักให้กับประเทศ และอดีตผู้บริหารองค์กรเอกชนด้านอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายของประเทศในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการระดับชาติด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ขอร่วมแสดงความเห็นและความฝันถึงคุณลักษณะและความคาดหวังของผู้ที่จะเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรัฐบาลชุดใหม่ที่เป็นความหวังของคนไทยทั้งชาติ ดังนี้ รัฐมนตรีกระทรวงทรัพฯ ต้องเห็นคุณค่าความสำคัญของการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: คุณสมบัติข้อนี้

หมุดหมายการพัฒนาในช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน SDGs in the New Politics

ประเด็นเนื้อหาถอดความและเรียบเรียงจากเวทีเสวนา SDGs หมุดหมายการพัฒนาในช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน (SDGs in the New Politics) โดยความร่วมมือของสำนักข่าว Bangkok Tribune, Decode.plus, SDG Move, และ

อนาคตของ SDGs กับ 7 ประเด็นท้าทายที่ไม่ปรากฏในนโยบายพรรคแกนนำจัดตั้งรัฐบาล

รอบสองเดือนที่ผ่านมาคงไม่มีประเด็นใดอยู่ในวงความสนใจและมีผลต่อทิศทางของสังคมไทยมากไปกว่าการเลือกตั้งทั่วไปที่สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคมที่ผ่านมา หลายฝ่ายต่างจับตามองว่านโยบายไทยภายใต้การบริหารของรัฐบาลชุดใหม่จะนำพาประเทศไปสู่ทิศทางใด ในแวดวง SDGs เรามักได้ยินข้อคำถามที่ว่า “หากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลชุดใหม่แล้ว SDGs จะหายไปหรือไม่?, SDG Move วิเคราะห์ ในทางหลักการ SDGs เป็นวาระการพัฒนาระดับโลกที่ประเทศไทยได้ให้คำมั่นไว้ต่อสหประชาชาติ

บทเรียน 34 ปีแห่งการหยุดเขื่อนแก่งเสือเต้นและปกป้องป่าสักทองของชาวสะเอียบ

กว่า 34 ปีที่ชาวบ้านตำบลสะเอียบ จังหวัดแพร่ ยืนหยัดต่อสู้กับแนวคิดการพัฒนาโครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ของรัฐ “เขื่อนแก่งเสือเต้น” พวกเขาเรียนรู้และเก็บเกี่ยวประสบการณ์การต่อสู้ที่ยาวนานถอดเป็นบทเรียนให้สังคมไทยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CESD) เรียบเรียงความทรงจำของผู้นำชุมชนรุ่นบุกเบิก กำนันเส็ง ขวัญยืนที่มีโอกาสแบ่งปันบทเรียนกับชาวบ้านที่กำลังจะได้รับผลกระทบจากโครงการผันน้ำยวมเมื่อเร็วๆ นี้ เนื่องในวันหยุดเขื่อนโลก

ฉันคือแม่น้ำโขง… ชดเชยและเยียวยาความสูญเสียของฉันได้ไหม?

รองศาสตราจารย์ ดร. กนกวรรณ มะโนรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เสนอให้มีการชดเชยและเยียวยาความสูญเสียของแม่น้ำโขงและของผู้คนที่พึ่งพาอาศัยแม่น้ำสายนี้ ผ่านงานเขียนเชิงอุปมาอุปไมยให้สายน้ำมีชีวิตและส่งเสียงเรียกร้องการชดเชยและเยียวยาด้วยตัวเองอีกครั้ง (Metaphorical approach) การดำรงอยู่ของฉัน… แม่น้ำโขง… ร่างกายของฉันทอดยาวกว่า 4,000

บทวิเคราะห์นโยบายพรรคการเมืองและข้อเสนอเพื่อความมั่นคงทางอาหารและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสำหรับการเลือกตั้ง 2566

ตลอดกว่าทศวรรษที่ผ่านมา นโยบายด้านการเกษตรและความมั่นคงทางอาหารส่วนใหญ่มุ่งให้ความสำคัญกับการอุดหนุนราคาสินค้าทางการเกษตรเป็นหลัก ซึ่งพบว่ามีปัญหาและมีข้อจำกัดหลายประการ จึงควรที่ตัวแทนเกษตรกร นักวิชาการ ภาคประชาสังคม และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานโยบายได้มีส่วนร่วมในการให้ความเห็นเสนอแนะ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อทั้งพรรคการเมืองและประชาชนทั่วไปสำหรับการเลือกตั้งที่จะมาถึง เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม สร้างความมั่นคงทางอาหาร และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและชาวนา, มูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI) และพันธมิตรร่วมจัดกล่าวถึงเหตุผลในการจัดเวทีนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายฯ ในวันอังคารที่ผ่านมา

“ความบอบช้ำทางใจ”… มิติที่หล่นหายในการประเมินผลกระทบโครงการพัฒนาเขื่อนแม่น้ำโขงและลำน้ำสาขา

การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติคือสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่กระทบอารมณ์ความรู้สึกอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นความทรงจำจากบาดแผล (Memory of Wounding) ที่รุนแรง ความทรงจำนี้คอยหลอกหลอนและสิงสถิตในตัวตนของผู้สูญเสียและตกทอดถึงลูกหลาน การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสังคมของโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ รวมทั้งโครงการพัฒนาเขื่อนแม่น้ำโขงและลำน้ำสาขา จะต้องให้ความสำคัญกับอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากการถูกบีบบังคับจนมันกลายเป็น “ความบอบช้ำทางใจ” (Trauma) ของผู้ที่คาดว่าจะได้รับผล กระทบจากโครงการที่จะสร้างใหม่ให้มากขึ้น รองศาสตราจารย์

“เขื่อน” ความป่วยไข้ และความตายอย่างช้าๆ ของระบบนิเวศแม่น้ำโขง

ณ “เก้าพันโบก” บริเวณบ้านกุ่มและบ้านตามุย ตำบลห้วยไผ่ อำเภอโขงเจียม ซึ่งห่างจากจุดที่คาดว่าจะสร้างเขื่อนบ้านกุ่มราวๆ 10 กิโลเมตร ความป่วยไข้และความตายของระบบนิเวศแม่น้ำโขงอาจปรากฏต่อสายตาขึ้นอีกครั้งหากมีการก่อสร้างโครงการเขื่อนบ้านกุ่มที่มีกำลังการผลิตติดตั้งถึงกว่า 1,782 เมกกะวัตต์ รองศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภาคแม่น้ำโขง

“เสียง” และ “ความเป็นแม่น้ำโขง” ต่อการสร้างเขื่อนบ้านกุ่ม

รองศาสตราจารย์ ดร. กนกวรรณ มะโนรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกับผู้คนในชุมชนริมแม่น้ำโขง ณ บ้านตามุย ต.ห้วยไผ่ อ.โขงเจียม อุบลราชธานี ที่คาดว่าจะมีการสร้างเขื่อนบ้านกุ่มหรือเขื่อนสาละวันใกล้ๆชุมชนในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า และเสนอให้มีการรับฟังเสียงของธรรมชาติและ

พื้นที่ทุ่งรับน้ำ ไม่ใช่ พื้นที่ทุ่งรับกรรม: เสียงเรียกร้องจากชาวบางบาลถึงรัฐบาล

ในขณะที่ประเทศไทยกำลังเผชิญภัยพิบัติจากอุทกภัยที่รุนแรงขึ้นโดยส่วนหนึ่งเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ชัดเจนขึ้นในปีนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิอากาศและทรัพยากรน้ำและการจัดการภัยพิบัติ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติด้านสภาพอากาศของรัฐ ผู้อำนวยการ Think Forward Center และอดีตอาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดชรัต สุขกำเนิด ได้ตั้งข้อสังเกตถึงการจัดการภัยพิบัติจากอุทกภัยในพื้นที่ที่ราบลุ่มภาคกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการการใช้พื้นที่ทุ่งรับน้ำท่วมเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อพื้นที่เศรษฐกิจทางตอนล่าง ที่กำลังถูกตั้งคำถามถึงความพร้อมในการเตรียมการและความเหลื่อมล้ำในการจัดการพื้นที่เสมือนหนึ่งเป็น