Top News

การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการฟื้นฟูเศรษฐกิจและปกป้องสิ่งแวดล้อมหลังโควิด 19

วิกฤตโควิดทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกถดถอยอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวเนื่องจากการเดินทางที่หยุดชะงัก โดยในปี 2562 ประเทศไทยเคยมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูงถึงปีละ 3 ล้านล้านบาทหรือราว 18% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า วิกฤติเดียวกันก่อให้เกิดบทเรียนที่สำคัญในการปรับปรุงการท่องเที่ยวที่เคยสร้างผลกระทบอย่างหนักหน่วงต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity based

ตำน้ำพริกละลายข้ามแม่น้ำ: ความไม่คุ้มค่า (เชิงเศรษฐศาสตร์) ของโครงการผันน้ำยวม

ภายหลังการประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่มีรองนายกรัฐมนตรี พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็นประธาน มีมติผ่านความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) ของ “โครงการผันน้ำยวม” หรือโครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม-อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล มูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาทเมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมา นักเคลื่อนไหวรณรงค์เพื่อการพัฒนาทรัพยากรน้ำที่ยั่งยืนและนักวิชาการด้านต่างๆ

จากสาละวินถึงยวม,โครงการผันน้ำยวมสู่เขื่อนภูมิพลฉบับ “EIA ร้านลาบ”

“โครงการผันน้ำยวม” หรือโครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม-อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล มูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาทได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการ (คชก.) สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (สผ.) และมีกระแสข่าวว่า คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติซึ่งมีพล.อ.ประวิตร วงศ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน จะมีการพิจารณาโครงการฯ