Top News

ตำน้ำพริกละลายข้ามแม่น้ำ: ความไม่คุ้มค่า (เชิงเศรษฐศาสตร์) ของโครงการผันน้ำยวม

ภายหลังการประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่มีรองนายกรัฐมนตรี พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ เป็นประธาน มีมติผ่านความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) ของ “โครงการผันน้ำยวม” หรือโครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม-อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล มูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาทเมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมา นักเคลื่อนไหวรณรงค์เพื่อการพัฒนาทรัพยากรน้ำที่ยั่งยืนและนักวิชาการด้านต่างๆ

จากสาละวินถึงยวม,โครงการผันน้ำยวมสู่เขื่อนภูมิพลฉบับ “EIA ร้านลาบ”

“โครงการผันน้ำยวม” หรือโครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม-อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล มูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาทได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการ (คชก.) สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (สผ.) และมีกระแสข่าวว่า คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติซึ่งมีพล.อ.ประวิตร วงศ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน จะมีการพิจารณาโครงการฯ

แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียวของสหภาพยุโรป (EU) และเยอรมนี: โอกาสทางธุรกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แม้ต้องเร่งดำเนินนโยบายและแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากโรคโควิด 19 แต่ก็มีหลายประเทศมากขึ้นที่เริ่มให้ความสำคัญกับความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) หรือการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ในขณะนี้ ดร.คริสเตียน ฮุบเนอร์ ให้ความเห็น อาจจะยังมีเพียงไม่กี่ประเทศที่ออกกฎหมายและมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสนับสนุนการปล่อยคาร์บอนสุทธิให้เป็นศูนย์ แต่ก็ถือได้ว่าโลกกำลังตื่นตัวกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery)  อย่างไรก็ตาม แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลกนี้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือระดับ

PERSPECTIVES: เขื่อนคลองวังโตนด: สัญญาณการทำลายป่าอนุรักษ์ครั้งใหญ่ภายใต้ EEC (Eastern Economic Corridor)

โครงการอ่างเก็บน้ำคลองวังโตนด แม้สันเขื่อนจะอยู่นอกพื้นที่อนุรักษ์ แต่จะทำให้น้ำท่วมพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้ำตกเขาสิบห้าชั้นกว่า 7,500 ไร่ ซึ่งเป็นป่าที่ราบต่ำและเป็นถิ่นอาศัยที่สำคัญของช้างป่า กระทิง กวางป่า และสัตว์ป่าอื่นๆ ที่อยู่ในภาวะถูกคุกคามใกล้สูญพันธุ์ในระดับโลก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติชุดปัจจุบันได้เห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมฉบับเดิม เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2564