Green Recovery

การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการฟื้นฟูเศรษฐกิจและปกป้องสิ่งแวดล้อมหลังโควิด 19

วิกฤตโควิดทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกถดถอยอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวเนื่องจากการเดินทางที่หยุดชะงัก โดยในปี 2562 ประเทศไทยเคยมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูงถึงปีละ 3 ล้านล้านบาทหรือราว 18% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า วิกฤติเดียวกันก่อให้เกิดบทเรียนที่สำคัญในการปรับปรุงการท่องเที่ยวที่เคยสร้างผลกระทบอย่างหนักหน่วงต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การท่องเที่ยวบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity based

แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียวของสหภาพยุโรป (EU) และเยอรมนี: โอกาสทางธุรกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แม้ต้องเร่งดำเนินนโยบายและแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากโรคโควิด 19 แต่ก็มีหลายประเทศมากขึ้นที่เริ่มให้ความสำคัญกับความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) หรือการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ในขณะนี้ ดร.คริสเตียน ฮุบเนอร์ ให้ความเห็น อาจจะยังมีเพียงไม่กี่ประเทศที่ออกกฎหมายและมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสนับสนุนการปล่อยคาร์บอนสุทธิให้เป็นศูนย์ แต่ก็ถือได้ว่าโลกกำลังตื่นตัวกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery)  อย่างไรก็ตาม แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลกนี้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือระดับ